

Thunderbolts*: จะทำอย่างไรเมื่อคุณรู้สึกว่าชีวิตไม่มีจุดหมายอีกต่อไป?
“จะทำอย่างไรเมื่อคุณรู้สึกว่าชีวิตไม่มีจุดหมายอีกต่อไป?” เป็นคำถามที่เป็นโจทย์ใหญ่ในชีวิตของใครหลาย ๆ คน ตามทฤษฎีจิตวิทยาได้อธิบายว่า หากบุคคลไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับบุคคลอื่น หรือไม่สามารถทำสิ่งที่มีความหมายได้


5 เทคนิคจิตวิทยาในการเอาชนะความเหงา ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ให้มั่นคง
จากสถิติคนเหงา เมื่อปี 2564 พบว่าคนไทยครองแชมป์คนเหงาเป็นอันดับที่ 4 ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งคิดออกมาเป็นจำนวนคนเหงามากถึง 7.07 ล้านคนเลยทีเดียว และมีการคาดการณ์ว่าในปี 2583 คนเหงาในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นอีก 30% กล่าวคือ จะเพิ่มจำนวนคนเหงาเป็น 9.12 ล้านคน


วัยรุ่น-โลกโซเชียล-โรคซึมเศร้า เมื่อสังคมเปลี่ยนไปควรทำความเข้าใจอะไรบ้าง?
ซึ่งหลายคนคงจะมีข้อสงสัยว่าเพราะอะไรวัยรุ่นในยุคนี้ถึงมีความเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าและทำร้ายตัวเองกันมากขึ้น แต่คำตอบของคำถามนั้นก็ยังคงไม่มีความชัดเจนแบบฟันธง มีเพียงข้อสันนิษฐานที่หลายฝ่ายเริ่มทำการศึกษาและสังเกตว่ามันมีแนวโน้มเข้ามาเกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้าในวัยรุ่นก็คือ “โลกโซเชียล”


ความคิดแบบไหนที่ควรบอกลา เพื่อพัฒนาความสุขของตัวเอง
“อยู่กับตัวเองให้ระวังความคิด อยู่กับมิตรให้ระวังคำพูด” เป็นประโยคที่มักจะได้ยินกันบ่อย แต่ในบางครั้งการระวัง ‘ความคิด’ และ ‘คำพูด’ ก็เป็นไปได้ยากเพราะในการที่จะระวังความคิดและคำพูดได้นั้นจะต้องอาศัยการรับรู้และเข้าใจตัวเอง ซึ่งอาจจะต้องตั้งต้นด้วยการสำรวจตัวเองก่อนว่าส่วนใหญ่แล้วตัวเองมักจะมีความคิดแบบไหน


SAKAMOTO DAYS กับ 6 แนวคิดการใช้ชีวิตด้วยหลักจิตวิทยา Empathy
SAKAMOTO DAYS เป็นเอนิเมชั่นที่สวร้างจากมังงะขายดีของญี่ปุ่น เรื่องล่าสุดของ Netflix ที่ถูกพูดถึงพอสมควรในโลกออนไลน์ โดย SAKAMOTO DAYS เป็นเรื่องราวของทาโร่ ซาคาโมโต อดีตนักฆ่าในตำนาน ที่ปัจจุบันผันตัวมาเป็นพ่อบ้านใจกล้า ผู้รักภรรยาเหนืออื่นใด


ความคิดอาจจะหลอกคุณได้ว่าคุณไม่เครียด แต่ร่างกายของคุณจะไม่มีวันโกหก
หากคุณเคยเห็นแบบประเมินความเครียดด้วยตนเอง คุณคงสังเกตว่าจะมีบางข้อที่สอบถามเกี่ยวกับร่างกายของคุณ เช่น ปวดหัวข้างเดียวหรือปวดหัวบริเวณขมับทั้งสองด้าน แต่ถึงแม้ว่าหลายคนจะรู้แล้วว่าร่างกายและจิตใจมีความสัมพันธ์กันก็ยังคงมีหลายคนที่ไม่เท่าทันสัญญาณเตือนจากร่างกายของตัวเองเมื่อมีระดับความเครียดที่สูงเกินไป ความเครียดจึงสะสมมากขึ้นเรื่อย ๆ


Adolescence เมื่อโลกออนไลน์กลายเป็นส่วนหนึ่งของจิตใจ : ผลกระทบของโซเชียลมีเดียต่อสุขภาพจิตของวัยรุ่น
ในยุคสมัยที่โลกออนไลน์กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต จนหลายคนขาดการมีตัวตนในโลกออนไลน์ไม่ได้จนเกิดผลกระทบของโซเชียลมีเดียต่อสุขภาพจิต โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่น คืออายุ 13 – 19 ปี


วัยรุ่นกับความรู้สึกเฉยชา : ทำความเข้าใจกับภาวะสิ้นยินดีในวัยรุ่นผ่านภาพยนตร์วัยหนุ่ม 2544
ถึงแม้ว่า “ภาวะสิ้นยินดี” หรือการมีความรู้สึกเฉยชาต่อการใช้ชีวิต มีมีอาการรุนแรงที่สุดในช่วงวัยทำงาน แต่ผลการศึกษาทางจิตวิทยากลับพบว่า


เข้าใจ Toxic Masculinity ตัดวงจรทัศนคติที่พ่อแม่อาจส่งต่อถึงลูกๆ โดยไม่รู้ตัว
วันก่อนผู้เขียนได้มีโอกาสดูมินิซีรีส์เรื่อง Adolescence ทาง Netflix และมีประเด็นหนึ่งน่าสนใจ นั่นคือ Toxic Masculinity


เทคนิคการช่วยกระตุ้น 4 ฮอร์โมนแห่งความสุขในที่ทำงาน
ด้วยความเข้าใจเกี่ยวกับ ฮอร์โมนแห่งความสุข องค์กร ผู้บริหาร และHR สามารถสร้างสถานที่ทำงานที่ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี แรงจูงใจ และความผูกพัน