

6 เทคนิคการสื่อสารสำหรับผู้นำเพื่อสร้าง Psychological Safety ในทีม
Psychological Safety คือ ความรู้สึกปลอดภัยที่ทีมมั่นใจว่า การพูด การถาม การเสนอความเห็น หรือแม้แต่การยอมรับความผิดพลาด จะไม่ถูกตำหนิ ดูแคลน ด้อยค่า หรือส่งผลเสียต่อสถานะของพวกเขา ลองนึกภาพง่ายๆ ว่า ถ้าที่ประชุม ทีมกล้าพูดว่า “ฉันไม่แน่ใจว่าทำแบบนี้ถูกไหม” หรือ “ฉันมีไอเดียแปลกๆ แต่อยากลอง” โดยไม่กลัวโดนหัวหน้าตำหนิหรือเพื่อนร่วมทีมจะแซะ นั่นคือ พื้นที่ปลอดภัยที่ความคิดสร้างสรรค์ การเรียนรู้ และความร่วมมือจะเกิดขึ้น


5 วิธีรับมือและป้องกัน Power Harassment ในที่ทำงาน
คุณอาจเคยเจอสถานการณ์ที่หัวหน้างานหรือผู้บริหารใช้อำนาจในทางที่ผิด ข่มขู่ ตำหนิ หรือกดดันลูกน้องอย่างไม่มีเหตุผล นั่นคือสิ่งที่เรียกว่า Power Harassment ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลต่อความมั่นคงของวัฒนธรรมองค์กรโดยตรง


รับมือกับคืนที่นอนไม่หลับด้วย 5 Physiological Techniques
หลายคนประสบปัญหานอนไม่หลับแม้จะเหนื่อยล้าทั้งวันแล้ว แต่เมื่อถึงเวลาหลับกลับรู้สึกราวกับร่างกายยังตื่นอยู่เสมอ นี่คือสัญญาณว่า ระบบประสาทอัตโนมัติของคุณยังอยู่ในโหมด Sympathetic หรือโหมดสู้-หนี (Fight or Flight) ซึ่งเป็นโหมดที่ร่างกายยังคงตื่นตัวแม้คุณจะอยู่บนเตียงแล้วก็ตาม


ใช้ร่างกายจัดการกับ Panic Attack เทคนิคง่าย ๆ ในการดูแลตัวเองและช่วยเหลือผู้อื่น
“ใจสั่น เหงื่อแตก หายใจไม่ทัน... ฉันเป็นอะไรไป” หากคุณเคยประสบเหตุการณ์ที่จู่ๆ ก็รู้สึกเหมือนจะขาดใจ ทั้งที่ไม่มีอันตรายอยู่ตรงหน้า นั่นอาจเป็น Panic Attack หรือ ภาวะตื่นตระหนกเฉียบพลัน ซึ่งเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาทางร่างกายที่เข้าใจผิด คิดว่าคุณกำลังตกอยู่ในภัยคุกคามร้ายแรง ทั้งที่ในความจริงคุณแค่กำลังนั่งอยู่ในห้องที่ปลอดภัย


"สมองวัยรุ่น: ทำไมการตัดสินใจของพวกเขาถึงแตกต่าง?"
หากคุณเป็นคนที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่คนหนึ่ง ผู้เขียนอยากจะถามคุณว่าเคยมีอย่างน้อยสักครั้งไหมคะที่คุณอ่านข่าวเกี่ยวกับวัยรุ่นแล้วเกิดความสงสัยว่า “ทำไมถึงทำแบบนั้น?” เช่น ทำไมถึงสูบบุหรี่ไฟฟ้าทั้งที่อายุแค่ 12-13 ปี?