

ใช้ร่างกายจัดการกับ Panic Attack เทคนิคง่าย ๆ ในการดูแลตัวเองและช่วยเหลือผู้อื่น
“ใจสั่น เหงื่อแตก หายใจไม่ทัน... ฉันเป็นอะไรไป” หากคุณเคยประสบเหตุการณ์ที่จู่ๆ ก็รู้สึกเหมือนจะขาดใจ ทั้งที่ไม่มีอันตรายอยู่ตรงหน้า นั่นอาจเป็น Panic Attack หรือ ภาวะตื่นตระหนกเฉียบพลัน ซึ่งเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาทางร่างกายที่เข้าใจผิด คิดว่าคุณกำลังตกอยู่ในภัยคุกคามร้ายแรง ทั้งที่ในความจริงคุณแค่กำลังนั่งอยู่ในห้องที่ปลอดภัย


"สมองวัยรุ่น: ทำไมการตัดสินใจของพวกเขาถึงแตกต่าง?"
หากคุณเป็นคนที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่คนหนึ่ง ผู้เขียนอยากจะถามคุณว่าเคยมีอย่างน้อยสักครั้งไหมคะที่คุณอ่านข่าวเกี่ยวกับวัยรุ่นแล้วเกิดความสงสัยว่า “ทำไมถึงทำแบบนั้น?” เช่น ทำไมถึงสูบบุหรี่ไฟฟ้าทั้งที่อายุแค่ 12-13 ปี?


A Minecraft Movie: ทำอย่างไรให้วัยรุ่นมุ่งมั่นโดยไม่ต้องบังคับ? จิตวิทยาของแรงจูงใจในการเรียน
ปัญหาแสนจะปวดใจของพ่อแม่ที่มีลูกอยู่ในวัยเรียน หรืออยู่ในวัยรุ่น ก็คือ ทำอย่างไรให้วัยรุ่นมุ่งมั่นโดยไม่ต้องบังคับ? เพราะเป็นเรื่องยากที่จะสร้างแรงจูงใจลูกวัยรุ่นให้เขาสนใจเรื่องที่ค่อนข้างน่าเบื่ออย่างการเรียน


ทำไมนักให้คำปรึกษา กำลังจะกลายเป็นพลังสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตในอนาคต
World Health Organization หรือ WHO คาดการณ์ว่า ในปี 2030 โรคทางสุขภาพจิต นั่นคือโรคซึมเศร้ากำลังจะกลายเป็นสาเหตุอันดับ 1 ของภาระโรคทั่วโลก เมื่อรวมทุกโรคและภาวะเจ็บป่วยที่มีผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์ทั้งหมด ทั้งในแง่ของสุขภาพ เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต โรคซึมเศร้าจะเป็นสาเหตุที่สร้างภาระโรคสูงที่สุดในโลก


ทำไมคุณถึงไม่รู้สึกภูมิใจในงานอีกต่อไป? ชวนรู้จัก 5 สัญญาณของภาวะสิ้นยินดีในที่ทำงาน
ภาวะสิ้นยินดีในที่ทำงาน หรือ Workplace Anhedonia ในทางจิตวิทยา หมายถึง อาการสูญเสียความสามารถในการรับรู้ความสุขหรือความพึงพอใจจากงาน ขาดแรงจูงใจ และขาดความรู้สึกเชื่อมโยงกับงานที่ทำ ซึ่งเริ่มต้นมาจากภาวะหมดพลัง หรือ Brownout อันนำไปสู่ภาวะหมดไฟในการทำงาน หรือ Burnout และนำมาสู่ภาวะสิ้นยินดีในที่ทำงานในที่สุด


5 เทคนิคในการรับมือกับความกดดันในงานและการใช้ชีวิตในเมืองใหญ่
เมื่อเดือนธันวาคม 2566 Thai PBS ได้รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตของคนไทยที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ นครราชสีมา ภูเก็ต ต้องรับมือกับความกดดันในงานและการชีวิตมากกว่าผู้ที่อาศัยในเมืองขนาดเล็ก หรือในเขตชนบท


Thunderbolts*: จะทำอย่างไรเมื่อคุณรู้สึกว่าชีวิตไม่มีจุดหมายอีกต่อไป?
“จะทำอย่างไรเมื่อคุณรู้สึกว่าชีวิตไม่มีจุดหมายอีกต่อไป?” เป็นคำถามที่เป็นโจทย์ใหญ่ในชีวิตของใครหลาย ๆ คน ตามทฤษฎีจิตวิทยาได้อธิบายว่า หากบุคคลไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับบุคคลอื่น หรือไม่สามารถทำสิ่งที่มีความหมายได้


5 เทคนิคจิตวิทยาในการเอาชนะความเหงา ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ให้มั่นคง
จากสถิติคนเหงา เมื่อปี 2564 พบว่าคนไทยครองแชมป์คนเหงาเป็นอันดับที่ 4 ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งคิดออกมาเป็นจำนวนคนเหงามากถึง 7.07 ล้านคนเลยทีเดียว และมีการคาดการณ์ว่าในปี 2583 คนเหงาในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นอีก 30% กล่าวคือ จะเพิ่มจำนวนคนเหงาเป็น 9.12 ล้านคน


วัยรุ่น-โลกโซเชียล-โรคซึมเศร้า เมื่อสังคมเปลี่ยนไปควรทำความเข้าใจอะไรบ้าง?
ซึ่งหลายคนคงจะมีข้อสงสัยว่าเพราะอะไรวัยรุ่นในยุคนี้ถึงมีความเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าและทำร้ายตัวเองกันมากขึ้น แต่คำตอบของคำถามนั้นก็ยังคงไม่มีความชัดเจนแบบฟันธง มีเพียงข้อสันนิษฐานที่หลายฝ่ายเริ่มทำการศึกษาและสังเกตว่ามันมีแนวโน้มเข้ามาเกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้าในวัยรุ่นก็คือ “โลกโซเชียล”


ความคิดแบบไหนที่ควรบอกลา เพื่อพัฒนาความสุขของตัวเอง
“อยู่กับตัวเองให้ระวังความคิด อยู่กับมิตรให้ระวังคำพูด” เป็นประโยคที่มักจะได้ยินกันบ่อย แต่ในบางครั้งการระวัง ‘ความคิด’ และ ‘คำพูด’ ก็เป็นไปได้ยากเพราะในการที่จะระวังความคิดและคำพูดได้นั้นจะต้องอาศัยการรับรู้และเข้าใจตัวเอง ซึ่งอาจจะต้องตั้งต้นด้วยการสำรวจตัวเองก่อนว่าส่วนใหญ่แล้วตัวเองมักจะมีความคิดแบบไหน